ล็อกอินเข้าระบบ
เข้าระบบผ่าน Social Network
เข้าสู่ระบบด้วย Facebook
เข้าสู่ระบบด้วย Line
เข้าสู่ระบบด้วย Apple
เข้าสู่ระบบด้วย Google
หรือ เข้าระบบด้วยบัญชี meb
จำ Password ไม่ได้
จำ Username ไม่ได้
หากยังไม่สมัครบัญชี meb โปรด
สมัครสมาชิก
สมัครสมาชิก MEB Account
กรุณาใส่ข้อมูลที่มีเครื่องหมาย * ให้ครบถ้วน
Username
*
ต้องมีไม่ต่ำกว่า 4 ตัวอักษร และยาวไม่เกิน 32 ตัวอักษร และใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษ a ถึง z, A ถึง Z หรือเครื่องหมาย _-@.
Password
*
ระบุอย่างน้อย 8 ตัว
Retype Password
*
E-mail
*
Display name
*
Phone
ระบุเฉพาะตัวเลข
First Name
Last Name
Gender
Not specified
Male
Female
ส่งข้อมูล
ล็อกอินเข้าระบบ The1
สำหรับผู้ที่มีบัญชี meb อยู่แล้ว
ครอปรูปภาพ
ล็อกอินเข้าระบบ / สมัครสมาชิก
ล็อกอินเข้าระบบ
ตะกร้า
จัดการอีบุ๊กที่วางขาย
จัดการอีบุ๊ก
อีบุ๊กทั้งหมด
เมนู
อีบุ๊กทั้งหมด
นิยายทั้งหมด
นิยายแปล
การ์ตูนทั้งหมด
อีบุ๊กทั่วไป
หนังสือเด็ก
หนังสือเรียน
หนังสือเสียง
บุฟเฟต์
หมวดหมู่ทั้งหมด
สำนักพิมพ์
เลือกหมวดหมู่ย่อย
ค้นหาสำนักพิมพ์
หน้าแรก
ขายดี
มาใหม่
โปรโมชัน
ฟรีกระจาย
ฮิตขึ้นหิ้ง
แนะนำ
กรุณาเข้าสู่ระบบก่อนดำเนินรายการด้วยค่ะ
ล็อกอินเข้าระบบ
กรุณายืนยันบัตรประชาชนก่อนดำเนินรายการด้วยค่ะ
ไปยืนยันบัตรประชาชน
ขณะนี้อยู่ในขั้นตอนการตรวจสอบข้อมูลบัตรประชาชน
กรุณาดำเนินการใหม่อีกครั้งในภายหลังค่ะ
ขออภัยค่ะไม่สามารถเข้าชมได้
เนื่องจากเนื้อหาเหมาะสำหรับผู้ที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป
สาระวิทย์ ฉบับที่ 94
โดย
ทีมงาน สาระวิทย์
สำนักพิมพ์
ฝ่ายสร้างสรรค์สื่อและผลิตภัณฑ์ (สวทช.)
หมวดหมู่
นิตยสารวิศวกรรม/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟรี
No Rating
ติดตาม
นักเขียน
ทีมงาน สาระวิทย์
สำนักพิมพ์
ฝ่ายสร้างสรรค์สื่อและผลิตภัณฑ์ (สวทช.)
หมวดหมู่
นิตยสารวิศวกรรม/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แชร์
Facebook
Twitter
LINE
ประเภทไฟล์
pdf
วันที่วางขาย
20 มกราคม 2564
ความยาว
58 หน้า
ราคาปก
ฟรี
สาระวิทย์ ฉบับที่ 94
โดย
ทีมงาน สาระวิทย์
ฝ่ายสร้างสรรค์สื่อและผลิตภัณฑ์ (สวทช.)
นิตยสารวิศวกรรม/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟรี
No Rating
ติดตาม
นักเขียน
ทีมงาน สาระวิทย์
สำนักพิมพ์
ฝ่ายสร้างสรรค์สื่อและผลิตภัณฑ์ (สวทช.)
หมวดหมู่
นิตยสารวิศวกรรม/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แชร์
Facebook
Twitter
LINE
นิตยสารสาระวิทย์ ฉบับที่ 94 เดือนมกราคม พ.ศ. 2564
ย่อยโลกข้อมูลข่าวสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อคุณ
เรื่องจากปก: (โดย วัชราภรณ์ สนทนา)
- ‘หอมนาคา’ ข้าวเหนียวพันธุ์ใหม่ หอมนุ่ม ผลผลิตสูง
นักวิจัยไทยสามารถพัฒนาข้าวเหนียวพันธุ์ใหม่ ‘หอมนาคา’ ที่ดีต่อใจทั้งผู้บริโภคและเกษตรกร เพราะนอกจากจะรสชาติดี มีกลิ่นหอมและนุ่มเหนียวเมื่อหุงสุกไม่แพ้กันแล้ว ยังต้านทานต่อโรคข้าวและภัยธรรมชาติ ล่าสุดขยายผลสู่เกษตรกรในพื้นที่ อ.ห้างฉัตร จ.ลำปาง เพื่อทดลองปลูกและพร้อมเก็บเกี่ยวแล้ว
บทความพิเศษ: (โดย อรพินท์ วิภาสุรมณฑล)
- "มารี กูรี" หนึ่งหญิง ผู้เปลี่ยนโฉมหน้าโลกวิทยาศาสตร์
คนทั่วโลกต่างได้ยินชื่อ มารี กูรี มาก่อน เพราะเธอเป็นผู้หญิงคนแรกในหลายๆ ด้าน เช่น เป็นผู้ค้นพบธาตุโปโลเนียม และเรเดียม ค้นพบปรากฎการณ์กัมมันตภาพรังสี ได้รับรางวัลโนเบลสองครั้ง ครั้งแรกทางฟิสิกส์และต่อมาอีกครั้งทางเคมี เป็นศาสตราจารย์หญิงคนแรกของมหาวิทยาลัยแห่งปารีส
จุดประสงค์ในการเขียนเรียบเรียงเรื่องราวชีวิตของ มารี กูรี ฉบับนี้นั้น เพื่อให้เด็กไทย โดยเฉพาะนักเรียนหญิง ได้ซึมซาบถึงประวัติรายละเอียด พื้นฐานครอบครัว อุปนิสัย ความมานะบุกบั่น ตลอดจนอุปสรรค ความล้มเหลว ความผิดหวัง ด้านต่างๆ ที่เธอต้องฟันฝ่า กว่าจะประสบความสำเร็จ
ร้อยพันวิทยา: (โดย รวิศ ทัศคร)
- อาหารรมควัน
คนเรารู้จักการรมควันอาหารมานาน และมีผลิตภัณฑ์อาหารต่าง ๆ มากมาย ที่อาศัยการบ่มเกลือ และรมควันเพื่อถนอมอาหาร หรือทำให้มีกลิ่นรสที่น่ารับประทานมากยิ่งขึ้น แม้การรับประทานมากเกินไปอาจก่อโทษต่อสุขภาพได้ แต่อาหารรมควันหอม ๆ ก็เป็นที่ชื่นชอบของหลายคนเสมอ และจะอยู่คู่เมนูอาหารกับเราไป ตราบนานเท่านาน
สภากาแฟ: (โดย ผศ. ดร. ป๋วย อุ่นใจ)
- วิกฤตการศึกษาในยุควิกฤตโควิด-19 :- เมื่อไรกายหยาบจะได้ไปโรงเรียน?
ในมุมของอาจารย์มหาวิทยาลัย สิ่งหนึ่งที่ชื่นชอบเวลา go online คือการตามส่องมีม (Meme) ที่ นักเรียน นักศึกษาในแต่ละคณะทำ เพราะมันมีความทะเล้น แทะโลม และจิกกัด ที่ผสมผสานกับความสร้างสรรค์เอาไว้อย่างแนบเนียน สิ่งหนึ่งที่เหมือนกันในแทบทุกกลุ่มมีมที่ตามส่องอยู่ คือ การแสดงถึงความผิดหวังแกมไม่พึงพอใจกับการเรียนออนไลน์ และหลังจากที่หลายสถาบันเริ่มออกประกาศเรียนออนไลน์ในช่วงการระบาดใหม่ของโควิด-19 ในประเทศ
เปิดโลกนิทานดาว: (โดย พงศธร กิจเวช)
- กลุ่มดาวแพะทะเล ที่มาของเดือนมกราคม
ชื่อเดือนมกราคมภาษาอังกฤษคือ January มาจาก เจนัส (Janus) เทพเจ้าแห่งประตู การเริ่มต้นและการสิ้นสุด ของโรมัน มีลักษณะน่าสนใจคือเป็นคน 2 หน้า ตรงข้ามกัน หน้าหนึ่งหันมองไปอดีต อีกหน้าหนึ่งหันมองไปอนาคต
สาระวิทย์ในศิลป์: (โดย วริศา ใจดี)
- สวัสดีปีวัวสไตล์สาระวิทย์ในศิลป์
คุณ Krafft Arnold Ehricke วิศวกรเครื่องยนต์จรวดและผู้สนับสนุนการตั้งนิคมในอวกาศชาวเยอรมัน และ คุณ George Gamow นักฟิสิกส์ทฤษฎีและนักจักรวาลวิทยาชาวอเมริกันเชื้อสายรัสเซีย ได้เสนอแบบจำลอง การเดินทางรอบดวงจันทร์ โดยเครื่องมือพิเศษในรูปของพาหนะที่ถูกส่งขึ้นไปโคจรรอบดวงจันทร์ โดยไม่ลงจอด เพื่อสามารถตีวงวกกลับมายังโลกได้อีกครั้งหนึ่ง พวกเขาได้เรียกชื่อเครื่องมือพิเศษชิ้นนี้ว่า “COW” ตามเพลงกล่อมเด็ก
ฉบับย้อนหลัง
https://www.nstda.or.th/sci2pub/sarawit/
ผลิตโดย: สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
ประเภทไฟล์
pdf
วันที่วางขาย
20 มกราคม 2564
ความยาว
58 หน้า
ราคาปก
ฟรี
เขียนรีวิวและให้เรตติ้ง
คุณสามารถ
เข้าสู่ระบบ
เพื่อแสดงความคิดเห็นได้จ้า
รีวิวทั้งหมด