ล็อกอินเข้าระบบ
เข้าระบบผ่าน Social Network
เข้าสู่ระบบด้วย Facebook
เข้าสู่ระบบด้วย Line
เข้าสู่ระบบด้วย Apple
เข้าสู่ระบบด้วย Google
หรือ เข้าระบบด้วยบัญชี meb
จำ Password ไม่ได้
จำ Username ไม่ได้
หากยังไม่สมัครบัญชี meb โปรด
สมัครสมาชิก
สมัครสมาชิก MEB Account
กรุณาใส่ข้อมูลที่มีเครื่องหมาย * ให้ครบถ้วน
Username
*
ต้องมีไม่ต่ำกว่า 4 ตัวอักษร และยาวไม่เกิน 32 ตัวอักษร และใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษ a ถึง z, A ถึง Z หรือเครื่องหมาย _-@.
Password
*
ระบุอย่างน้อย 8 ตัว
Retype Password
*
E-mail
*
Display name
*
Phone
ระบุเฉพาะตัวเลข
First Name
Last Name
Gender
Not specified
Male
Female
ส่งข้อมูล
ล็อกอินเข้าระบบ The1
สำหรับผู้ที่มีบัญชี meb อยู่แล้ว
ครอปรูปภาพ
ล็อกอินเข้าระบบ / สมัครสมาชิก
ล็อกอินเข้าระบบ
ตะกร้า
จัดการอีบุ๊กที่วางขาย
จัดการอีบุ๊ก
อีบุ๊กทั้งหมด
เมนู
อีบุ๊กทั้งหมด
นิยายทั้งหมด
นิยายแปล
การ์ตูนทั้งหมด
อีบุ๊กทั่วไป
หนังสือเด็ก
หนังสือเรียน
หนังสือเสียง
บุฟเฟต์
หมวดหมู่ทั้งหมด
สำนักพิมพ์
เลือกหมวดหมู่ย่อย
ค้นหาสำนักพิมพ์
หน้าแรก
ขายดี
มาใหม่
โปรโมชัน
ฟรีกระจาย
ฮิตขึ้นหิ้ง
แนะนำ
กรุณาเข้าสู่ระบบก่อนดำเนินรายการด้วยค่ะ
ล็อกอินเข้าระบบ
กรุณายืนยันบัตรประชาชนก่อนดำเนินรายการด้วยค่ะ
ไปยืนยันบัตรประชาชน
ขณะนี้อยู่ในขั้นตอนการตรวจสอบข้อมูลบัตรประชาชน
กรุณาดำเนินการใหม่อีกครั้งในภายหลังค่ะ
ขออภัยค่ะไม่สามารถเข้าชมได้
เนื่องจากเนื้อหาเหมาะสำหรับผู้ที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป
นิตยสาร Creative Thailand ปีที่ 5 ฉบับที่ 11
โดย
TCDC
สำนักพิมพ์
TCDC - ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบฯ
หมวดหมู่
นิตยสารความรู้
ฟรี
No Rating
ติดตาม
นักเขียน
TCDC
สำนักพิมพ์
TCDC - ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบฯ
หมวดหมู่
นิตยสารความรู้
แชร์
Facebook
Twitter
LINE
ประเภทไฟล์
pdf
วันที่วางขาย
30 กรกฎาคม 2557
ความยาว
36 หน้า
ราคาปก
ฟรี
นิตยสาร Creative Thailand ปีที่ 5 ฉบับที่ 11
โดย
TCDC
TCDC - ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบฯ
นิตยสารความรู้
ฟรี
No Rating
ติดตาม
นักเขียน
TCDC
สำนักพิมพ์
TCDC - ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบฯ
หมวดหมู่
นิตยสารความรู้
แชร์
Facebook
Twitter
LINE
Something Better, Something Bitter
7 กรกฎาคม 2005 การก่อการร้ายใจกลางลอนดอนได้สร้างความหวาดกลัวจนกลายเป็นฝันร้ายของชาวอังกฤษ และนำมาซึ่งมาตรการที่จะปกป้องชีวิตและทรัพย์สินของชาวเมืองให้ดำเนินต่อไปอย่างปกติสุข แม้ว่าลอนดอนจะเคยรับมือกับคำข่มขู่และการวางระเบิดจากกลุ่มกองทัพสาธารณรัฐไอร์แลนด์ (IRA) มาตั้งแต่ทศวรรษ 1990 แต่การก่อการร้ายครั้งนี้ก็ส่งผลรุนแรงต่อทั้งชีวิตและจิตใจ จนนำไปสู่การขยายผลโครงการ "ริง ออฟ สตีล (Ring of Steel)" ที่เดิมมีวัตถุประสงค์เพียงเพื่อตรวจตรา จดบันทึก และสืบค้นการเข้าออกของพาหนะที่เข้าสู่เขตนครลอนดอน (City of London) ให้รัดกุมและเข้มงวดมากขึ้น
ปราการป้องกันเขตเมืองเพื่อความปลอดภัยนี้ไม่ใช่เรื่องใหม่ เพราะนครลอนดอนนั้นตั้งอยู่บนผังเมืองเก่าที่ชาวโรมันได้ออกแบบและสร้างกำแพงเมืองโดยแบ่งออกเป็นชั้นๆ เพื่อคุ้มกันสินค้าและปกป้องศูนย์กลางของเมือง ต่อมาในทศวรรษ 1990 เขตเมืองลอนดอนก็ยังคงยึดหลักการป้องกันศูนย์กลางเขตพาณิชย์ของกลุ่มบริษัทข้ามชาติที่เป็นเป้าหมายในการก่อการร้ายด้วยวิธีเดียวกันคือการใช้กำแพงริง ออฟ สตีลนี้ป้องกัน ก่อนที่โครงการจะถูกปรับใช้เพื่อแก้ปัญหาจราจรในเขตเมืองไปพร้อมกันในปี 2003 ด้วยระบบการจัดเก็บข้อมูลที่ทันสมัยผ่านกล้องวงจรปิด และการวางผังควบคุมการเข้าออกเมืองให้เหลือเพียง 19 แห่งจากเดิมที่มีหลายร้อยเส้นทาง ด้วยการใช้แนวกั้นถนนที่เหมาะกับภูมิทัศน์ เช่น แนวต้นไม้ แปลงดอกไม้ คอนกรีตเสริมเหล็ก และมาตรการทางภาษี อันเป็นแนวคิดชาญฉลาดที่มาพร้อมกับการลดภาระของเจ้าหน้าที่ตำรวจ แต่หลังเหตุการณ์ก่อการร้าย 7/7 ปี 2005 ความเข้มข้นของมาตรการก็สูงขึ้น เสาไฟควบคุมการจราจรด้านบนได้ถูกออกแบบให้เป็นไฟส่องสว่าง มีกล้องติดตั้งอยู่ระดับกลางเพื่อบันทึกภาพใบหน้าบุคคล และกล้องล่างสุดใช้ถ่ายเลขทะเบียนรถ ทั้งหมดเพื่อแกะรอยว่า ใครขับรถคันไหนเข้ามาในเขตลอนดอน ซึ่งประมาณว่าต้องใช้กล้องสำหรับเขตเมืองราวๆ 11,000 ตัว และน่าจะมีถึง 2.4 ล้านตัวทั่วสหราชอาณาจักรซึ่งถือว่ามากที่สุดในโลก และชาวอังกฤษต้องถูกถ่ายภาพด้วยกล้องเหล่านี้มากถึงวันละ 300 ครั้ง
เมื่อการตรวจตราเปลี่ยนเป็นการจับตา ความปลอดภัยก็กลายเป็นความอึดอัด การเก็บเบาะแสคือภาระที่ต้องสะสาง เมื่อจำนวนข้อมูลหลั่งไหลมาจากทั่วสารทิศ มีการคาดการณ์ว่าต้องใช้หลักฐานจากกล้องมากถึง 1,000 ตัวสำหรับการทำคดีสักคดี จนบางครั้งข้อมูลก็ขัดแย้งกันเอง นอกจากนี้ ความเป็นส่วนตัวที่หายไปของผู้คนบนท้องถนนยังกลายเป็นเรื่องที่ถูกตำหนิ และการใช้งบประมาณหลายร้อยล้านปอนด์ของโครงการก็ยังสร้างความไม่พอใจให้มีอยู่ทั่วไป
เมื่อความสุขในการดำเนินชีวิตประจำวัน คือเป้าหมายสูงสุดของคุณภาพชีวิตที่ดี การคิดค้นนวัตกรรมจึงถูกนำเสนอและลำเลียงสู่ชีวิตผู้คนในหลายรูปแบบ ทั้งด้วยจุดประสงค์ทางนโยบายของรัฐ การกระตุ้นยอดขายของกลุ่มธุรกิจ หรือความสนใจส่วนตัว แต่เมื่อชีวิตมีทางเลือกที่เต็มไปด้วยความรวดเร็วและสะดวกสบายซึ่งกระตุ้นให้ผู้คนเร่งคิด เร่งบริโภค และเร่งชีวิตมากขึ้นเท่าไร การตัดสินใจที่เกิดจากการประมวลข้อมูลมหาศาลนั้น ก็ยิ่งส่งให้ความเป็นมนุษย์นั้นมีคุณค่า เพราะยิ่งโลกพัฒนากลุ่มคนที่คิดค้นนวัตกรรมแห่งอนาคตมากขึ้นเท่าใด ก็ต้องเร่งผลิตกลุ่มคนที่รอบรู้ที่จะตัดสินใจใช้นวัตกรรมนั้นให้เท่าทัน เพื่อไม่ให้เรากลายเป็นสังคมของผู้ใช้นวัตกรรมที่ถูกผลักไสเข้าไปในหลุมดำของเทคโนโลยีโดยไม่รู้ตัว
ประเภทไฟล์
pdf
วันที่วางขาย
30 กรกฎาคม 2557
ความยาว
36 หน้า
ราคาปก
ฟรี
เขียนรีวิวและให้เรตติ้ง
คุณสามารถ
เข้าสู่ระบบ
เพื่อแสดงความคิดเห็นได้จ้า
รีวิวทั้งหมด