ล็อกอินเข้าระบบ
เข้าระบบผ่าน Social Network
เข้าสู่ระบบด้วย Facebook
เข้าสู่ระบบด้วย Line
เข้าสู่ระบบด้วย Apple
เข้าสู่ระบบด้วย Google
หรือ เข้าระบบด้วยบัญชี meb
จำ Password ไม่ได้
จำ Username ไม่ได้
หากยังไม่สมัครบัญชี meb โปรด
สมัครสมาชิก
สมัครสมาชิก MEB Account
กรุณาใส่ข้อมูลที่มีเครื่องหมาย * ให้ครบถ้วน
Username
*
ต้องมีไม่ต่ำกว่า 4 ตัวอักษร และยาวไม่เกิน 32 ตัวอักษร และใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษ a ถึง z, A ถึง Z หรือเครื่องหมาย _-@.
Password
*
ระบุอย่างน้อย 8 ตัว
Retype Password
*
E-mail
*
Display name
*
Phone
ระบุเฉพาะตัวเลข
First Name
Last Name
Gender
Not specified
Male
Female
ส่งข้อมูล
ล็อกอินเข้าระบบ The1
สำหรับผู้ที่มีบัญชี meb อยู่แล้ว
ครอปรูปภาพ
ล็อกอินเข้าระบบ / สมัครสมาชิก
ล็อกอินเข้าระบบ
ตะกร้า
จัดการอีบุ๊กที่วางขาย
จัดการอีบุ๊ก
อีบุ๊กทั้งหมด
เมนู
อีบุ๊กทั้งหมด
นิยายทั้งหมด
นิยายแปล
การ์ตูนทั้งหมด
อีบุ๊กทั่วไป
หนังสือเด็ก
หนังสือเรียน
หนังสือเสียง
บุฟเฟต์
หมวดหมู่ทั้งหมด
สำนักพิมพ์
เลือกหมวดหมู่ย่อย
ค้นหาสำนักพิมพ์
หน้าแรก
ขายดี
มาใหม่
โปรโมชัน
ฟรีกระจาย
ฮิตขึ้นหิ้ง
แนะนำ
กรุณาเข้าสู่ระบบก่อนดำเนินรายการด้วยค่ะ
ล็อกอินเข้าระบบ
กรุณายืนยันบัตรประชาชนก่อนดำเนินรายการด้วยค่ะ
ไปยืนยันบัตรประชาชน
ขณะนี้อยู่ในขั้นตอนการตรวจสอบข้อมูลบัตรประชาชน
กรุณาดำเนินการใหม่อีกครั้งในภายหลังค่ะ
ขออภัยค่ะไม่สามารถเข้าชมได้
เนื่องจากเนื้อหาเหมาะสำหรับผู้ที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป
สาระวิทย์ ฉบับที่ 97
โดย
ทีมงาน สาระวิทย์
สำนักพิมพ์
ฝ่ายสร้างสรรค์สื่อและผลิตภัณฑ์ (สวทช.)
หมวดหมู่
นิตยสารวิศวกรรม/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟรี
No Rating
ติดตาม
นักเขียน
ทีมงาน สาระวิทย์
สำนักพิมพ์
ฝ่ายสร้างสรรค์สื่อและผลิตภัณฑ์ (สวทช.)
หมวดหมู่
นิตยสารวิศวกรรม/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แชร์
Facebook
Twitter
LINE
ประเภทไฟล์
pdf
วันที่วางขาย
19 เมษายน 2564
ความยาว
57 หน้า
ราคาปก
ฟรี
สาระวิทย์ ฉบับที่ 97
โดย
ทีมงาน สาระวิทย์
ฝ่ายสร้างสรรค์สื่อและผลิตภัณฑ์ (สวทช.)
นิตยสารวิศวกรรม/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟรี
No Rating
ติดตาม
นักเขียน
ทีมงาน สาระวิทย์
สำนักพิมพ์
ฝ่ายสร้างสรรค์สื่อและผลิตภัณฑ์ (สวทช.)
หมวดหมู่
นิตยสารวิศวกรรม/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แชร์
Facebook
Twitter
LINE
นิตยสารสาระวิทย์ โดย สวทช. ฉบับที่ 97 เดือนเมษายน พ.ศ. 2564 ภายใต้แนวคิด "ย่อยโลกข้อมูลข่าวสารวิทยาศาสตร์เพื่อคุณ" พบกับหลากหลายเรื่องราวความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทั้งไทยและต่างประเทศ
จบสงกรานต์ ได้เวลาอ่านสาระวิทย์
"นิตยสารสาระวิทย์" โดย สวทช. ฉบับที่ 97 เดือนเมษายน พ.ศ. 2564
เรื่องจากปก:
- 20 ปี ความสัมพันธ์ไทย-เซิร์น
ความสัมพันธ์ที่แนบแน่นระหว่างเซิร์นกับประเทศไทยไม่ใช่เพิ่งเกิดขึ้น หากเป็นสิ่งที่ต้องสร้างสมด้วยพระบารมีและพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารีที่ทรงนำประเทศไทยเข้าสู่วงการฟิสิกส์อนุภาคเมื่อสองทศวรรษมาแล้ว และยังทรงสนับสนุนและทรงติดตามความก้าวหน้าในความสัมพันธ์มาโดยตลอดจนปัจจุบัน
บทความพิเศษ: (โดย อรพินท์ วิภาสุรมณฑล)
- "มารี กูรี" หนึ่งหญิง ผู้เปลี่ยนโฉมหน้าโลกวิทยาศาสตร์ ตอนที่ 3 รางวัลโนเบลครั้งแรก
ชื่อและประวัติผลงานของมารีนั้นมีอยู่ในแฟ้มคณะกรรมการรางวัลโนเบลตั้งแต่ปี พ.ศ. 2445 เมื่อมีผู้เสนอให้รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์แก่มารี ในฐานะผู้ค้นพบเรเดียม
ร้อยพันวิทยา: (โดย รวิศ ทัศคร)
- ทะยานสู่ดวงดาวด้วยระบบขับดันแห่งอนาคต ตอนที่ 2
ในบทความตอนที่แล้ว เราได้สำรวจชนิดของเครื่องยนต์ขับดันบางชนิดที่ออกแบบเอาไว้เพื่อใช้งานในระบบสุริยะ แต่ถ้าเรามองภาพอนาคตข้างหน้าในสักวันหนึ่ง... วันที่การเดินทางระหว่างดาวฤกษ์ไม่ใช่ความฝันอีกต่อไป มีเครื่องยนต์หรือระบบขับดันแบบไหนบ้างที่จะหยิบยกขึ้นมาพูดคุย เราลองมาดูกัน
สภากาแฟ: (โดย ผศ. ดร.ป๋วย อุ่นใจ)
- เลี้ยงเซลล์อย่างไร…ให้หลั่งน้ำตา (ในหลอดทดลอง)
นักวิจัยจากเนเธอแลนด์เปิดตัวงานวิจัยเลี้ยงสเต็มเซลล์แบบใหม่ กระตุ้นให้หลั่งน้ำตาได้ในหลอดทดลอง ! ที่จริง เราสามารแยกสเต็มเซลล์มาเพาะเลี้ยงในหลอดทดลองมาได้สักพักใหญ่ๆ แล้ว หรือแม้แต่กระตุ้นให้เซลล์อวัยวะต่างๆ เปลี่ยนย้อนวัยกลับไปเป็นสเต็มเซลล์ - ที่เรียกว่าเซลล์ iPS (induced pluripotent stem cell) ก็ยังทำได้
⚛️ เปิดโลกนิทานดาว: (โดย พงศธร กิจเวช)
- กลุ่มดาวแกะ ที่มาของเดือนเมษายน
กลุ่มดาวแกะเป็นที่มาของชื่อเดือนเมษายน คำว่า “เมษายน” มาจากคำว่า “เมษ” แปลว่า แกะ กับคำว่า “อายน” แปลว่า การมาถึง หมายถึง ดวงอาทิตย์เคลื่อนที่มาถึงกลุ่มดาวแกะหรือราศีเมษ ในทางดาราศาสตร์ดวงอาทิตย์จะเข้าไปอยู่ในกลุ่มดาวแกะวันที่ 20 เมษายน 2564
สาระวิทย์ในศิลป์: (โดย วริศา ใจดี)
- The Barometer Problem: คิดต่างอย่างสร้างสรรค์
ลองจินตนาการหากนักเรียนคนหนึ่งเปิดข้อสอบขึ้นมาและเจอคำถาม “จงแสดงวิธีการวัดความสูงของตึกระฟ้าโดยใช้บารอมิเตอร์” พร้อมเว้นที่ว่างหนึ่งหน้ากระดาษเต็มไว้ให้เขียนคำตอบ การที่เราคิดต่างกับคนอื่นไม่ใช่เรื่องผิดอะไร ขอเพียงคิดต่างแล้วสามารถอธิบายถึงเหตุผลที่มาที่ไปได้ เพียงเท่านี้ไม่ว่าปัญหาจะยากแค่ไหนก็จะสามารถแก้ไขได้ด้วยวิธีการอันสร้างสรรค์
ดาวน์โหลดฟรี "นิตยสารสาระวิทย์ ฉบับที่ 97" ได้ที่
https://oer.learn.in.th/search_detail/result/228392
และดาวน์โหลดฉบับย้อนหลังได้ทางเว็บไซต์
https://www.nstda.or.th/sci2pub/sarawit/
นิตยสารสาระวิทย์ โดย สวทช.
Website: https://www.nstda.or.th/sci2pub/sarawit
Facebook: https://www.facebook.com/sarawitnstda
Blockdit: https://www.blockdit.com/sarawit
Twitter: https://twitter.com/sarawitnstda
ประเภทไฟล์
pdf
วันที่วางขาย
19 เมษายน 2564
ความยาว
57 หน้า
ราคาปก
ฟรี
เขียนรีวิวและให้เรตติ้ง
คุณสามารถ
เข้าสู่ระบบ
เพื่อแสดงความคิดเห็นได้จ้า
รีวิวทั้งหมด