Icon Close

คลื่นลูกที่สี่ของรัฐประศาสนศาสตร์ : การจัดการปกครองภาคสาธารณะแนวการตีความ

คลื่นลูกที่สี่ของรัฐประศาสนศาสตร์ : การจัดการปกครองภาคสาธารณะแนวการตีความ
Icon RatingIcon RatingIcon RatingIcon RatingIcon Rating
No Rating
ประเภทไฟล์
pdf
วันที่วางขาย
15 มีนาคม 2566
ความยาว
170 หน้า
ราคาปก
250 บาท (ประหยัด 60%)
คลื่นลูกที่สี่ของรัฐประศาสนศาสตร์ : การจัดการปกครองภาคสาธารณะแนวการตีความ
วรรณกรรมกระแสหลักในวงวิชาการทางด้านรัฐประศาสนศาสตร์ได้แบ่ง “คลื่นของรัฐประศาสนศาสตร์” ออกเป็น 3 ลูก ประกอบด้วย คลื่นลูกที่หนึ่ง : การบริหารรัฐกิจแบบดั้งเดิม (Traditional Public Administration – TPA) ซึ่งครอบงำการบริหารงานภาคสาธารณะอยู่เป็นเวลายาวนานมากกว่า 1 ศตวรรษ (1854-1980) คลื่นลูกที่สอง : การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management – NPM) ซึ่งเกิดขึ้นในช่วงสองทศวรรษสุดท้ายของศตวรรษที่ 20 และคลื่นลูกที่สาม : การจัดการปกครองภาคสาธารณะแนวใหม่ (New Public Governance - NPG) ซึ่งเกิดขึ้นในช่วงทศวรรษแรกของศตวรรษที่ 21
ในหนังสือเล่มนี้ ผู้เขียนได้เสนอว่าในปัจจุบันนี้ได้เกิดคลื่นลูกที่สี่ขึ้นมาในสาขารัฐประศาสนศาสตร์เรียบร้อยแล้ว นั่นคือ “การจัดการปกครองภาคสาธารณะแนวการตีความ” (Interpretive Public Governance – IPG) คลื่นลูกนี้เกิดขึ้นในช่วงต้นทศวรรษที่สองของศตวรรษที่ 21 ในฐานะของระเบียบวิธีการศึกษาที่จะเข้ามาแก้ไขจุดอ่อนหรือข้อบกพร่องที่มีอยู่ในคลื่นลูกต่างๆ ก่อนหน้านี้ และในฐานะแนวทางปฏิบัติในการกำหนดนโยบายสาธารณะและการส่งมอบการบริการสาธารณะสำหรับศตวรรษที่ 21
ประเภทไฟล์
pdf
วันที่วางขาย
15 มีนาคม 2566
ความยาว
170 หน้า
ราคาปก
250 บาท (ประหยัด 60%)
เขียนรีวิวและให้เรตติ้ง
คุณสามารถเข้าสู่ระบบเพื่อแสดงความคิดเห็นได้จ้า