ล็อกอินเข้าระบบ
เข้าระบบผ่าน Social Network
เข้าสู่ระบบด้วย Facebook
เข้าสู่ระบบด้วย Line
เข้าสู่ระบบด้วย Apple
เข้าสู่ระบบด้วย Google
หรือ เข้าระบบด้วยบัญชี meb
จำ Password ไม่ได้
จำ Username ไม่ได้
หากยังไม่สมัครบัญชี meb โปรด
สมัครสมาชิก
สมัครสมาชิก MEB Account
กรุณาใส่ข้อมูลที่มีเครื่องหมาย * ให้ครบถ้วน
Username
*
ต้องมีไม่ต่ำกว่า 4 ตัวอักษร และยาวไม่เกิน 32 ตัวอักษร และใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษ a ถึง z, A ถึง Z หรือเครื่องหมาย _-@.
Password
*
ระบุอย่างน้อย 8 ตัว
Retype Password
*
E-mail
*
Display name
*
Phone
ระบุเฉพาะตัวเลข
First Name
Last Name
Gender
Not specified
Male
Female
ส่งข้อมูล
ล็อกอินเข้าระบบ The1
สำหรับผู้ที่มีบัญชี meb อยู่แล้ว
ครอปรูปภาพ
ล็อกอินเข้าระบบ / สมัครสมาชิก
ล็อกอินเข้าระบบ
ตะกร้า
จัดการอีบุ๊กที่วางขาย
จัดการอีบุ๊ก
อีบุ๊กทั้งหมด
เมนู
อีบุ๊กทั้งหมด
นิยายทั้งหมด
นิยายแปล
การ์ตูนทั้งหมด
อีบุ๊กทั่วไป
หนังสือเด็ก
หนังสือเรียน
หนังสือเสียง
บุฟเฟต์
หมวดหมู่ทั้งหมด
สำนักพิมพ์
เลือกหมวดหมู่ย่อย
ค้นหาสำนักพิมพ์
หน้าแรก
ขายดี
มาใหม่
โปรโมชัน
ฟรีกระจาย
ฮิตขึ้นหิ้ง
แนะนำ
กรุณาเข้าสู่ระบบก่อนดำเนินรายการด้วยค่ะ
ล็อกอินเข้าระบบ
กรุณายืนยันบัตรประชาชนก่อนดำเนินรายการด้วยค่ะ
ไปยืนยันบัตรประชาชน
ขณะนี้อยู่ในขั้นตอนการตรวจสอบข้อมูลบัตรประชาชน
กรุณาดำเนินการใหม่อีกครั้งในภายหลังค่ะ
ขออภัยค่ะไม่สามารถเข้าชมได้
เนื่องจากเนื้อหาเหมาะสำหรับผู้ที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป
นิตยสาร Creative Thailand ปีที่ 4 ฉบับที่ 10
โดย
ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้
สำนักพิมพ์
TCDC - ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบฯ
หมวดหมู่
นิตยสารความรู้
ฟรี
No Rating
ติดตาม
นักเขียน
ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้
สำนักพิมพ์
TCDC - ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบฯ
หมวดหมู่
นิตยสารความรู้
แชร์
Facebook
Twitter
LINE
ประเภทไฟล์
pdf
วันที่วางขาย
04 กรกฎาคม 2556
ความยาว
36 หน้า
ราคาปก
ฟรี
นิตยสาร Creative Thailand ปีที่ 4 ฉบับที่ 10
โดย
ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้
TCDC - ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบฯ
นิตยสารความรู้
ฟรี
No Rating
ติดตาม
นักเขียน
ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้
สำนักพิมพ์
TCDC - ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบฯ
หมวดหมู่
นิตยสารความรู้
แชร์
Facebook
Twitter
LINE
คนส่งสาร
ก่อนที่ทิม เบอร์เนอร์ส-ลี (Tim Berners-Lee) จะได้คิดค้นและเริ่มนำสังคมโลกเข้าสู่ยุคอินเทอร์เน็ตด้วยเครือข่าย 'เวิลด์ ไวด์ เว็บ' นั้น ครึ่งศตวรรษก่อนหน้า แวนเนอวาร์ บุช (Vannevar Bush) นักวิทยาศาสตร์และวิศวกรจากเอ็มไอที ได้ตีพิมพ์บทความชื่อ “As May We Think” ในปี 1945 ที่แสดงถึงวิสัยทัศน์ของเขาและการทำนายเกี่ยวกับโลกยุคดิจิทัลโดยได้อธิบายถึงปัญหาของข่าวสารที่จะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและกลายเป็นความมากเกินไป ก่อนจะสรุปใจความสำคัญที่มุ่งสู่คำถามที่ว่า แล้วสมองของคนเราทำงานอย่างไรเมื่อถึงภาวะเช่นนั้น คำตอบก็คือ จิตใจและสมองของมนุษย์ไม่ได้ทำงานแบบเส้นตรง แต่เป็นการทำงานแบบร่วมมือ เพราะเมื่อเราเริ่มต้นคิดถึงเป้าหมาย มนุษย์จะปะติดปะต่อเรื่องราวจากสิ่งแวดล้อมโดยรวมทุกสิ่งที่เคยจดจำหรือมีความรู้มา นั่นหมายถึงสมองมีรูปแบบการทำงานแบบเครือข่าย บุชจึงเสนอวิธีจัดการกับความรู้และข้อมูลข่าวสารที่จะหลั่งไหลและท่วมท้นในอนาคต ด้วยการชี้ให้เห็นถึงกระบวนการสร้างระบบจัดเก็บข้อมูลแบบเครือข่ายและวิธีการที่จะทำให้เทคโนโลยีสามารถทำงานร่วมกับสมองได้อย่างมีประสิทธิภาพ และความคิดในการรวบรวมข้อมูลนี่เองที่เป็นหัวใจให้เบอร์เนอร์ส-ลี นำไปสู่การสร้างเวิลด์ ไวด์ เว็บ โดยเขากล่าวว่า “มันเริ่มจากสิ่งแรกคือการค้นหาความสอดคล้อง จากนั้นสร้างและออกแบบเว็บที่เรียกว่าไฮเปอร์ลิงก์เพื่อจะหารูปแบบความสามารถในการเชื่อมโยงข่าวสารชิ้นเดียวเข้ากับข่าวสารชิ้นอื่นๆ”
วันนี้ สภาวะข้อมูลข่าวสารที่ท่วมท้นได้เกิดขึ้นจริงและต่างกำลังปีนป่ายเพื่อแย่งชิงพื้นที่ทางสายตา บทสนทนา และความคิดของผู้คน ในสภาพเช่นนี้เราจะเสาะหาเป้าหมายที่ต้องการได้อย่างมีประสิทธิภาพที่สุดอย่างไร และในทางกลับกัน เราจะบอกเล่าจุดประสงค์หรือสื่อสารต่อกลุ่มคนที่เราคาดหวังได้เช่นไร ยิ่งไปกว่านั้น เมื่อทั้งโลกสามารถเชื่อมต่อถึงกันทั้งทางกายภาพและทางออนไลน์อย่างรวดเร็วด้วยเทคโนโลยีการสื่อสาร รูปแบบของผู้คนที่ไม่เคยได้พบปะ ภาษาที่ไม่คุ้นหู กระทั่งค่านิยมที่ไม่คุ้นเคย จะยิ่งทำให้ปฏิสัมพันธ์ของสังคมดำเนินไปอย่างสับสนหรือไม่
แต่หลักคิดของกราฟิกดีไซน์ได้กลายมาเป็นตัวช่วยสำคัญในวิถีชีวิตยุคใหม่ของเรา ผลงานออกแบบกราฟิกจำนวนมาก ถูกนำไปใช้เพื่อการสื่อสารและสร้างความเข้าใจแก่สาธารณะอย่างกระจ่างแจ้ง ช่วยลดทอนช่องว่างทางภาษาที่แตกต่าง ตัวอักษร ภาพ สีสัน ลายเส้น สัญลักษณ์ต่างๆ ที่อยู่บนบิลบอร์ด หน้านิตยสาร หรือป้ายบอกทาง ล้วนมีเป้าหมายเพื่อสร้างความสะดุดตา เพิ่มการจดจำ ให้ข้อมูล หรือสื่อสารสิ่งที่ผู้ส่งสารต้องการสื่อออกไป บางครั้งอยากตะโกน บางครั้งอยากกระซิบ และพลังของการออกแบบกราฟิกสามารถสร้างอารมณ์ร่วมของผู้คนได้
รูปแบบของภาษาสากลยุคใหม่นี้ ปรากฏตัวขึ้นอย่างแนบเนียนและชาญฉลาดจนอาจไม่ทันสังเกต หากแต่จำเป็นต้องใช้ เพื่อว่าเราจะสามารถรู้ทิศทาง รู้ตำแหน่ง รู้วิธีการใช้สิ่งของ ทั้งๆ ที่เราไม่เข้าใจในภาษาได้ นั่นเป็นเพราะผลงานออกแบบที่ดีได้ช่วยเติมเต็มมาตรฐานการใช้ชีวิตประจำวัน และผลงานออกแบบกราฟิกที่ดีนั้น ย่อมไม่เพียงสื่อสารทางอารมณ์ร่วม แต่ต้องสามารถสร้างความเชื่อมโยงให้กับข้อมูล ประสบการณ์ ความรู้ ความเคยชิน และทำงานร่วมกันเป็นเครือข่ายเพื่อส่งให้ผู้คนเข้าใจถึง “เนื้อหาที่แท้จริง”ของข้อความนั้นได้อย่างราบรื่น ซึ่งนั่นเองคือพลังที่แท้จริงของผลงาน
ในเล่มพบกับ...
The Subject… If you can raed Tihs, You Msut Be Raelly Smrat.
Matter… Printed Electronics Panel
Cover Story… Communicated, or Not?
Creative Entrepreneur… Superstore Super>>Font>>Maker
Creative Will… ThaiGa สร้างนักออกแบบที่เก่ง ดี และมีจรรยาบรรณ
ประเภทไฟล์
pdf
วันที่วางขาย
04 กรกฎาคม 2556
ความยาว
36 หน้า
ราคาปก
ฟรี
เขียนรีวิวและให้เรตติ้ง
คุณสามารถ
เข้าสู่ระบบ
เพื่อแสดงความคิดเห็นได้จ้า
รีวิวทั้งหมด