ล็อกอินเข้าระบบ
เข้าระบบผ่าน Social Network
เข้าสู่ระบบด้วย Facebook
เข้าสู่ระบบด้วย Line
เข้าสู่ระบบด้วย Apple
เข้าสู่ระบบด้วย Google
หรือ เข้าระบบด้วยบัญชี meb
จำ Password ไม่ได้
จำ Username ไม่ได้
หากยังไม่สมัครบัญชี meb โปรด
สมัครสมาชิก
สมัครสมาชิก MEB Account
กรุณาใส่ข้อมูลที่มีเครื่องหมาย * ให้ครบถ้วน
Username
*
ต้องมีไม่ต่ำกว่า 4 ตัวอักษร และยาวไม่เกิน 32 ตัวอักษร และใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษ a ถึง z, A ถึง Z หรือเครื่องหมาย _-@.
Password
*
ระบุอย่างน้อย 8 ตัว
Retype Password
*
E-mail
*
Display name
*
Phone
ระบุเฉพาะตัวเลข
First Name
Last Name
Gender
Not specified
Male
Female
ส่งข้อมูล
ล็อกอินเข้าระบบ The1
สำหรับผู้ที่มีบัญชี meb อยู่แล้ว
ครอปรูปภาพ
ล็อกอินเข้าระบบ / สมัครสมาชิก
ล็อกอินเข้าระบบ
ตะกร้า
จัดการอีบุ๊กที่วางขาย
จัดการอีบุ๊ก
อีบุ๊กทั้งหมด
เมนู
อีบุ๊กทั้งหมด
นิยายทั้งหมด
นิยายแปล
การ์ตูนทั้งหมด
อีบุ๊กทั่วไป
หนังสือเด็ก
หนังสือเรียน
หนังสือเสียง
บุฟเฟต์
หมวดหมู่ทั้งหมด
สำนักพิมพ์
เลือกหมวดหมู่ย่อย
ค้นหาสำนักพิมพ์
หน้าแรก
ขายดี
มาใหม่
โปรโมชัน
ฟรีกระจาย
ฮิตขึ้นหิ้ง
แนะนำ
กรุณาเข้าสู่ระบบก่อนดำเนินรายการด้วยค่ะ
ล็อกอินเข้าระบบ
กรุณายืนยันบัตรประชาชนก่อนดำเนินรายการด้วยค่ะ
ไปยืนยันบัตรประชาชน
ขณะนี้อยู่ในขั้นตอนการตรวจสอบข้อมูลบัตรประชาชน
กรุณาดำเนินการใหม่อีกครั้งในภายหลังค่ะ
ขออภัยค่ะไม่สามารถเข้าชมได้
เนื่องจากเนื้อหาเหมาะสำหรับผู้ที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป
คิด - Creative Thailand ปีที่ 2 ฉบับที่ 11
โดย
ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้
สำนักพิมพ์
TCDC - ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบฯ
หมวดหมู่
นิตยสารความรู้
ฟรี
No Rating
ติดตาม
นักเขียน
ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้
สำนักพิมพ์
TCDC - ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบฯ
หมวดหมู่
นิตยสารความรู้
แชร์
Facebook
Twitter
LINE
ประเภทไฟล์
pdf
วันที่วางขาย
19 สิงหาคม 2554
ความยาว
36 หน้า
ราคาปก
ฟรี
คิด - Creative Thailand ปีที่ 2 ฉบับที่ 11
โดย
ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้
TCDC - ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบฯ
นิตยสารความรู้
ฟรี
No Rating
ติดตาม
นักเขียน
ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้
สำนักพิมพ์
TCDC - ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบฯ
หมวดหมู่
นิตยสารความรู้
แชร์
Facebook
Twitter
LINE
น้ำ...นวัตกรรมแห่งความเป็นอารยะ
WE HAVE LEARNED IN THE END; NOT ONLY TO FIGHT AGAINST THE WATER, BUT ALSO TO LIVE WITH THE WATER.
ตลอดประวัติศาสตร์อันยาวนานของมนุษยชาติ สารประกอบชนิดนี้ได้พิสูจน์ตนเองว่าเป็นมากกว่าการดับกระหาย มนุษย์ใช้น้ำในหลายสถานภาพ ทั้งเป็นสื่อกลางการแลกเปลี่ยน ใช้ในพิธีกรรมทางความเชื่อ เป็นสัญลักษณ์ทางการเมืองและความมั่งคั่ง ป่าวประกาศในการเฉลิมฉลอง หรือแม้กระทั่งเพื่อรำลึกถึงการตายจากกัน นับแต่เมืองแห่งแรกของโลกปรากฏขึ้นในเขตเมโสโปเตเมียบนที่ราบลุ่มแม่น้ำไทกริสและยูเฟรติส สังคมเมืองก็มีการพัฒนาเติบโตขึ้นพร้อมๆ กับการค่อยๆ สั่งสมผลลัพธ์จากความคิดและทักษะในการรับมือกับธรรมชาติอย่างน่าอัศจรรย์ผ่านสิ่งประดิษฐ์มากมาย ทั้งหมดนี้ก็เพื่อนำทางให้ชีวิตมีความอุดมสมบูรณ์ ซ้ำยังสร้างความเพลิดเพลินและสีสันแห่งความมั่งคั่ง ด้วยระบบชลประทานและวิศวกรรมที่อาจหาญทำสิ่งที่เป็นไปไม่ได้ให้กลายเป็นจริง
เทคโนโลยีด้านวิศวกรรมถูกพัฒนาขึ้นเพื่อต่อสู้กับธรรมชาติอย่างไม่ลดละ จากอ่างเก็บน้ำสู่การสร้างเขื่อน จากเขื่อนเพื่อการเกษตรสู่การปรับฐานะเป็นเขื่อนขนาดใหญ่ที่ผลิตกระแสไฟฟ้าสำหรับประชาชนทั้งประเทศ ก่อนจะก้าวข้ามไปสร้างวงจรเศรษฐกิจในดินแดนใกล้เคียง ความชาญฉลาดของคนเรายังท้าทายระดับน้ำทะเลที่ทรงอานุภาพด้วยการสร้างกำแพงกั้นน้ำที่ทันสมัยเพื่อปกป้องอาณาเขตของเมืองอย่างเวนิส ลอนดอน หรืออัมสเตอร์ดัม ตลอดจนการนำนาโนเทคโนโลยีเข้าช่วยบำบัดน้ำเสียให้เป็นน้ำใช้ และเปลี่ยนน้ำเค็มมาเป็นน้ำดื่ม
ท่ามกลางความชื่นมื่นในความสำเร็จด้านเทคโนโลยี เมื่อปีที่ผ่านมา องค์การกองทุนสัตว์ป่าโลกสากล หรือ World Wide Fund for Nature (WWF) ได้เปิดเผยรายงานล่าสุดชื่อว่า “Mega-Stress for Mega-Cities” ใน รายงานระบุว่า กรุงเทพฯ เป็นเมืองที่มีความเปราะบางมากเป็นลำดับที่ 5 จากทั้งหมด 11 เมือง เนื่องจากที่ตั้งของเมืองอยู่สูงจากระดับน้ำทะเลเพียง 2 เมตรเท่านั้น ขณะที่ระดับน้ำทะเลบริเวณอ่าวไทยจะสูงขึ้นอีก 10-100 เซนติเมตรภายใน 50 ปีจากนี้ ซึ่งจะส่งผลให้พื้นที่กว่า 1,500 ตารางกิโลเมตรของกรุงเทพฯ ต้องเผชิญกับความเสี่ยงที่พื้นที่หลายส่วนของเมืองอาจจมน้ำ นอกจากนี้ ยูเนสโกและคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมสำหรับเอเชียและแปซิฟิก (เอสแคป) ยังได้ร่วมกันออกรายงานสถิติการใช้น้ำในเขตเมืองใหญ่ของเอเชีย ซึ่งพบว่า กรุงเทพฯ ได้ชื่อว่าเป็นพื้นที่เมืองที่ใช้ทรัพยากรน้ำมากที่สุดในโลก เฉลี่ยแล้วใช้น้ำราว 265 ลิตรต่อคนต่อวัน
ด้วยเหตุนี้ การที่จะปล่อยให้วิถีชีวิตและการขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจดำเนินอยู่บนความเมตตาของธรรมชาติ จึงอาจไม่ใช่เรื่องดีนักเสียแล้ว...
ในเล่มพบกับ...
• Cover Story…Water control is the future.
• The Subject…สงครามการแย่งชิงแหล่งน้ำ
• The Object…Three Gorges Dam นวัตกรรมแห่งการเอาชนะธรรมชาติ
• Classic Item…กังหันน้ำชัยพัฒนา
• Creative Entrepreneur…ดื่มดีไซน์ BOXED WATER IS BETTER.
ที่มา http://www.creativethailand.org/th/magazine
เนื้อหาเผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาต ครีเอทีฟคอมมอนส์ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย
ประเภทไฟล์
pdf
วันที่วางขาย
19 สิงหาคม 2554
ความยาว
36 หน้า
ราคาปก
ฟรี
เขียนรีวิวและให้เรตติ้ง
คุณสามารถ
เข้าสู่ระบบ
เพื่อแสดงความคิดเห็นได้จ้า
รีวิวทั้งหมด